กำหนดการเสนอรายงานวิชา น.๒๖๐ ชุดที่ ๔

นักศึกษาที่เสนอรายงานวิชา น.๒๖๐ ทักษะการใช้ภาษากฎหมาย: การค้นคว้า การเขียนและการนำเสนอ (กลุ่ม ๔) ชุดที่ ๔ ในวันจันทร์ที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๕๖ มีดังนี้

  • พรรษชล หุตะมงคล เรื่อง ระดับของการกระทำโดยประมาทในกฎหมายอาญา: เปรียบเทียบกฎหมายไทยกับกฎหมายอังกฤษ
  • พิมพ์พันธุ์ ถนอมกุลบุตร เรื่อง การควบคุมการติดตั้งกล้องวงจรปิด: ศึกษาการใช้และการควบคุมกล้องวงจรปิด เปรียบเทียบกฎหมายไทยกับกฎหมายในประเทศอังกฤษ
  • มนชัญญา องค์เจริญกุล เรื่อง การคุ้มครองสิทธิผู้ซื้อ “รถยนต์ใหม่”: เปรียบเทียบกฎหมายในประเทศไทยกับกฎหมายในประเทศสหรัฐอเมริกา
  • ระพีภัทร คำพิชัย เรื่อง การได้กรรมสิทธิ์โดยการครอบครองปรปักษ์ เปรียบเทียบกฎหมายไทยกับกฎหมายสวิสเซอร์แลนด์
  • ดิลกธรรม อึ๊งโพธิ์ เรื่อง พระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. ๒๕๕๑: การกำหนดนิยามคำว่า “สินค้า” ให้รวมถึง “การบริการ”
  • ภัทรธนาฒย์ ศรีถาพร เรื่อง การใช้ไฟวิ่งกลางวันสำหรับรถยนต์ (daytime running lights): เปรียบเทียบกฎหมายไทยและกฎหมายประเทศแถบภาคพื้นยุโรป
  • อภิชาญ สิทธิ์พรสุวรรณ เรื่อง มาตรการทางกฎหมายของไทยในการควบคุมการเผยแพร่ข่าวผู้เสียหายในความผิดเกี่ยวกับเพศเปรียบเทียบกับกฎหมายในประเทศสหรัฐอเมริกา
  • ชุติกาญจน์ วัจนะรัตน์ เรื่อง การจัดการปัญหาสแปม (spam) ในกฎหมายไทย
  • ณัฐวรา เด็ดขาด เรื่อง ความครอบคลุมความผิดเกี่ยวกับการวางเพลิงเผาทรัพย์: ศึกษากรณีผลกระทบต่อมลพิษทางอากาศของกฎหมายไทยเปรียบเทียบกับกฎหมายอังกฤษ
  • รัตนาพร หมื่นนารา เรื่อง การกำหนดค่าเสียหายเชิงลงโทษ: เปรียบเทียบกฎหมายไทยกับกฎหมายอังกฤษ

ดังที่ผมได้แจ้งนักศึกษามาโดยตลอด (รวมทั้งในแนวทางการศึกษาด้วย) ว่า

  • นักศึกษาแต่ละคนมีเวลาเสนอรายงานไม่เกินสิบนาที
  • เป็นหน้าที่ของนักศึกษาทุกคนที่ต้องมีส่วนร่วมในการเสนอรายงานทุกฉบับ ไม่ว่าด้วยการสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม การถามคำถาม การวิพากษ์วิจารณ์ การแสดงความคิดเห็น การเสนอแนะหรือการอื่นใด อันจะเป็นประโยชน์แก่การพัฒนารายงานฉบับนั้น ๆ ให้เป็นรายงานเพื่อส่งให้ผมต่อไป
  • ผมจะประเมินคุณภาพการมีส่วนร่วมของนักศึกษาแต่ละคนตามวรรคก่อน และนำไปเป็นส่วนหนึ่งในการให้คะแนนการมีส่วนร่วมในห้องบรรยายสำหรับนักศึกษาแต่ละคนนั้นด้วย
  • เพื่อประโยชน์ในการมีส่วนร่วมในการเสนอรายงานและการได้รับคะแนนตามสองวรรคก่อนที่ดี ผมขอแนะนำให้นักศึกษาศึกษาและค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ “ขอบเขตของรายงาน” ของนักศึกษาที่เสนอรายงานในห้องบรรยายแต่ละคนล่วงหน้า ทั้งนี้ นักศึกษาสามารถชม จัดเก็บหรือพิมพ์ “ขอบเขตของรายงาน” แต่ละฉบับที่ผมได้รับไว้แล้วได้ภายใต้รายการ “งานและคะแนน”

ผมจึงขอเชิญชวนนักศึกษาปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่ผมแจ้งไว้ดังกล่าวข้างต้นโดยพร้อมเพรียงกัน เพื่อให้การเสนอรายงานของนักศึกษาเป็นไปด้วยความเรียบร้อยตามกำหนดการ และเพื่อคะแนนที่ดีของนักศึกษาแต่ละคนด้วย

กำหนดการเสนอรายงานวิชา น.๒๖๐ ชุดที่ ๓

นักศึกษาที่เสนอรายงานวิชา น.๒๖๐ ทักษะการใช้ภาษากฎหมาย: การค้นคว้า การเขียนและการนำเสนอ (กลุ่ม ๔) ชุดที่ ๓ ในวันจันทร์ที่ ๙ ก้นยายน ๒๕๕๖ มีดังนี้

  • มนัสวี ไทยกุลเจริญ เรื่อง การห้ามการใช้ยาแก้หวัดที่มีส่วนผสมของสารซูโดอีเฟดรีน
  • จีระนันท์ ยมานนท์ เรื่อง พระราชบัญญัติการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๑๔ และผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน
  • อาทิตยา เลิศอรุณรัตน์ เรื่อง การทำแท้งเป็นสิทธิของสตรีที่ตั้งครรภ์หรือเป็นสิทธิของทารกในครรภ์ที่มีสิทธิที่จะมีชีวิต
  • ณัฐกร เรือนมะกอก เรื่อง การคัดแยกและการรีไซเคิลบรรจุภัณฑ์: ศึกษาจากกฎหมายในประเทศญี่ปุ่น
  • อิสริยาภรณ์ หันตา เรื่อง กฎหมายศรีธนญชัย? ห้ามดื่มเหล้าบนรถ
  • เบญญาภา ลุนบุดดา เรื่อง ปัญหาพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๑๕ กับผู้ให้บริการเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
  • สุพิชชา ศุภะพันธุ์ เรื่อง การปรับใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ในสื่อลามกเด็ก
  • กานต์สินี เจริญดิษยารัตน์ เรื่อง การทรมานโดยจำเป็น
  • สุดารัตน์ จิระเกียรติวัฒนา เรื่อง การให้สิทธิมนุษยชนโดยการออกกฎหมายให้คนรักร่วมเพศสมรสกันได้อย่างถูกต้อง: ศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายไทยกับกฎหมายต่างประเทศที่อนุญาตให้คนรักร่วมเพศสมรสกันได้อย่างถูกต้อง
  • ณัชชา ปราการนนท์ เรื่อง กฎหมายเกี่ยวกับฉลากโภชนาการ: เปรียบเทียบกฎหมายไทยกับกฎหมายฮ่องกง
  • วิศิษฎา นวลมี เรื่อง ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล: ศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายไทยกับกฎหมายเยอรมัน
  • กุลธิดา สุรวาท เรื่อง การค้าประเวณีที่ถูกต้องตามกฎหมาย ศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายไทยกับกฎหมายเนเธอร์แลนด์
  • กัญจน์ จิระวุฒิพงศ์ เรื่อง กฎหมายและสิทธิในการการครอบครองอาวุธปืนเปรียบเทียบกฎหมายไทยและกฎหมายสหรัฐอเมริกา
  • ยามา อุรเคนทรางกูร เรื่อง การแก้ไขพระราชบัญญติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ ศึกษากรณีทรัพยากรพันธุกรรม (GR)
  • ภรปวีร์ โค้วเจริญ เรื่อง การร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ฯ: ศึกษากรณีมหาวิทาลัยออกนอกระบบ เปรียบเทียบผลดีผลเสียความคุ้มค่าในการออกนอกระบบ เทียบกับมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ของรัฐที่ออกไปแล้ว

ดังที่ผมได้แจ้งนักศึกษามาโดยตลอด (รวมทั้งในแนวทางการศึกษาด้วย) ว่า

  • นักศึกษาแต่ละคนมีเวลาเสนอรายงานไม่เกินสิบนาที
  • เป็นหน้าที่ของนักศึกษาทุกคนที่ต้องมีส่วนร่วมในการเสนอรายงานทุกฉบับ ไม่ว่าด้วยการสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม การถามคำถาม การวิพากษ์วิจารณ์ การแสดงความคิดเห็น การเสนอแนะหรือการอื่นใด อันจะเป็นประโยชน์แก่การพัฒนารายงานฉบับนั้น ๆ ให้เป็นรายงานเพื่อส่งให้ผมต่อไป
  • ผมจะประเมินคุณภาพการมีส่วนร่วมของนักศึกษาแต่ละคนตามวรรคก่อน และนำไปเป็นส่วนหนึ่งในการให้คะแนนการมีส่วนร่วมในห้องบรรยายสำหรับนักศึกษาแต่ละคนนั้นด้วย
  • เพื่อประโยชน์ในการมีส่วนร่วมในการเสนอรายงานและการได้รับคะแนนตามสองวรรคก่อนที่ดี ผมขอแนะนำให้นักศึกษาศึกษาและค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ “ขอบเขตของรายงาน” ของนักศึกษาที่เสนอรายงานในห้องบรรยายแต่ละคนล่วงหน้า ทั้งนี้ นักศึกษาสามารถชม จัดเก็บหรือพิมพ์ “ขอบเขตของรายงาน” แต่ละฉบับที่ผมได้รับไว้แล้วได้ภายใต้รายการ “งานและคะแนน”

ผมจึงขอเชิญชวนนักศึกษาปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่ผมแจ้งไว้ดังกล่าวข้างต้นโดยพร้อมเพรียงกัน เพื่อให้การเสนอรายงานของนักศึกษาเป็นไปด้วยความเรียบร้อยตามกำหนดการ และเพื่อคะแนนที่ดีของนักศึกษาแต่ละคนด้วย

กำหนดการเสนอรายงานวิชา น.๒๖๐ ชุดที่ ๒

นักศึกษาที่เสนอรายงานวิชา น.๒๖๐ ทักษะการใช้ภาษากฎหมาย: การค้นคว้า การเขียนและการนำเสนอ (กลุ่ม ๔) ชุดที่ ๒ ในวันจันทร์ที่ ๒ กันยายน ๒๕๕๖ มีดังนี้

  • นันท์รภัส เที่ยงธรรม เรื่อง การเข้าถึงยาอันตรายได้โดยไม่มีใบแพทย์: เปรียบเทียบกับกฎหมายต่างประเทศ
  • ณัฐชยา พิมพิลา เรื่อง การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลในอินเตอร์เน็ต: ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายไทยและกฎหมายในสหราชอาณาจักร
  • พิมพ์พิสุทธิ์ ยมภักดี เรื่อง การควบคุมสิทธิของเอกชนในการติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) กับปัญหาการละเมิดสิทธิส่วนบุคคล
  • กมลนัทธ์ สุขหทัยธรรม เรื่อง ปัญหาเรื่องความน่าเชื่อถือของผู้จัดการมรดกโดยพินัยกรรม
  • ภักดีนาถ สุประดิษฐ์ ณ อยุธยา เรื่อง หลักประกันของหญิงที่ถูกข่มขืน
  • พีรยา โป็ะลำพงษ์ เรื่อง การส่งเสริมให้มีการจัดเก็บภาษีคาร์บอนเพื่อควบคุมการปล่อยก๊าซเรือนกระจก: ศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายไทยกับกฎหมายในประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศแถบยุโรป
  • ณัชชา ติรวัฒนกุล เรื่อง ความผิดเกี่ยวกับเครื่องหมายที่ใช้ระบุตัวคนเปรียบเทียบกฎหมายไทยกับกฎหมายในประเทศสหรัฐอเมริกา
  • ชุติกา เหตระกูล เรื่อง ปัญหากฎหมายสแปมเมล์ตามมาตรา ๑๑ จาก พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทำผิดคอมพิวเตอร์ศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายประเทศไทยกับกฎหมายสหรัฐอเมริกา
  • พิพัฒน์พงษ์ มานะ เรื่อง การหมิ่นประมาทกับพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐
  • ภัคพล พวงทองคำ เรื่อง สิทธิในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ: ศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายไทยกับกฎหมายของฝรั่งเศส
  • นิติ วณิชย์วรนันต์ เรื่อง การแถลงข่าวการจับกุมผู้ต้องหาถือเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนของผู้ต้องหาหรือไม่ รวมทั้งเป็นการขัดต่อหลักกฎหมายใดหรือไม่
  • ชิดชนก กราบคุณ เรื่อง การขึ้นทะเบียนสัตว์เลี้ยงเพื่อลดปัญหาสัตว์เร่ร่อน
  • สิริภัคณัชญ์ วิมลมงคลพร เรื่อง การแก้ไขปัญหารถติดด้วยการเก็บภาษีหรือค่าธรรมเนียมรถยนต์ที่ขับเข้าไปในเขตเมืองชั้นใน
  • คัทรินทร์ ทรัพย์อำนวยโชค เรื่อง การออกกฎหมายให้สิทธิแก่บุคคลซึ่งแปลงเพศแล้วสามารถเปลี่ยนคำนำหน้านามได้: ศึกษาผลกระทบหากมีการออกพระราชบัญญัติคำนำหน้านามบุคคลซึ่งให้สิทธิแก่บุคคลซึ่งแปลงเพศแล้วเปลี่ยนคำนำหน้านามได้
  • บุณยนุช สัตตมัย เรื่อง กฎหมายสิทธิบัตรยากับการเข้าถึงยาของประชาชนในรัฐ: เปรียบเทียบกฎหมายสิทธิบัตรยาในประเทศไทยไทยและประเทศอินเดีย

ดังที่ผมได้แจ้งนักศึกษามาโดยตลอด (รวมทั้งในแนวทางการศึกษาด้วย) ว่า

  • นักศึกษาแต่ละคนมีเวลาเสนอรายงานไม่เกินสิบนาที
  • เป็นหน้าที่ของนักศึกษาทุกคนที่ต้องมีส่วนร่วมในการเสนอรายงานทุกฉบับ ไม่ว่าด้วยการสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม การถามคำถาม การวิพากษ์วิจารณ์ การแสดงความคิดเห็น การเสนอแนะหรือการอื่นใด อันจะเป็นประโยชน์แก่การพัฒนารายงานฉบับนั้น ๆ ให้เป็นรายงานเพื่อส่งให้ผมต่อไป
  • ผมจะประเมินคุณภาพการมีส่วนร่วมของนักศึกษาแต่ละคนตามวรรคก่อน และนำไปเป็นส่วนหนึ่งในการให้คะแนนการมีส่วนร่วมในห้องบรรยายสำหรับนักศึกษาแต่ละคนนั้นด้วย
  • เพื่อประโยชน์ในการมีส่วนร่วมในการเสนอรายงานและการได้รับคะแนนตามสองวรรคก่อนที่ดี ผมขอแนะนำให้นักศึกษาศึกษาและค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ “ขอบเขตของรายงาน” ของนักศึกษาที่เสนอรายงานในห้องบรรยายแต่ละคนล่วงหน้า ทั้งนี้ นักศึกษาสามารถชม จัดเก็บหรือพิมพ์ “ขอบเขตของรายงาน” แต่ละฉบับที่ผมได้รับไว้แล้วได้ภายใต้รายการ “งานและคะแนน”

ผมจึงขอเชิญชวนนักศึกษาปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่ผมแจ้งไว้ดังกล่าวข้างต้นโดยพร้อมเพรียงกัน เพื่อให้การเสนอรายงานของนักศึกษาเป็นไปด้วยความเรียบร้อยตามกำหนดการ และเพื่อคะแนนที่ดีของนักศึกษาแต่ละคนด้วย